|
|
|
|
- คมตัดบางส่วนที่ไม่ได้ใช้ตัดเกิดการชำรุดเสียหายจากการตกของเศษ ส่งผลให้ได้ผิวงานที่มีคุณภาพไม่ดีและเกิดการสึกหรอด้านหน้าอย่างรุนแรง
|
- เพิ่มความเร็วตัด
- ลดอัตราป้อนเมื่อเริ่มการตัด
- ปรับปรุงความมั่นคง
- เพิ่มจำนวนรอบการตัด
- ใช้เม็ดมีดโปรไฟล์เต็ม
|
|
|
|
เกิดผิวสำเร็จคุณภาพต่ำและการเสื่อมของคมตัดเมื่อกำจัดการสะสมของเศษวัสดุที่คมตัดออกไป
|
- อุณหภูมิการตัดต่ำเกินไป
- วัสดุที่มีความเหนียวมาก เช่น เหล็กกล้าคาร์บอนต่ำ เหล็กสเตนเลส และอะลูมิเนียม
|
- เพิ่มความเร็วตัดหรืออัตราป้อน
- ใช้ละอองน้ำมันและน้ำหล่อเย็น
|
|
|
|
|
- การสึกหรอมากเกินจนทำให้คมตัดเปราะบาง
- การแตกขาดจากกันของคมตัดบนคมตัดตามจนทำให้เกิดผิวสำเร็จคุณภาพต่ำ
|
- ลดความเร็วเพื่อลดอุณหภูมิ
- ลดอัตราป้อน
|
|
|
|
|
- การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิตามการเปลี่ยนแปลงการจ่ายน้ำหล่อเย็นหรือการเฉือนตัดเป็นช่วงๆ จนทำให้รอยแตกร้าวขนาดเล็กทำมุมฉากกับคมตัด การเสื่อมของเม็ดมีดและผิวสำเร็จที่ไม่สมบูรณ์
|
- ใช้น้ำหล่อเย็นในปริมาณมาก หรือไม่ใช้เลย
- ลดความเร็วตัดลง
|
|
|
|
การเสื่อมสภาพถาวรของคมตัด รอยกดหรือรอยกดด้านข้างที่ทำให้มีการควบคุมเศษที่ไม่ดี ผิวสำเร็จที่ไม่สมบูรณ์และการหักของเม็ดมีด
|
- อุณหภูมิในการตัดและแรงดันสูงเกินไป
|
- ลดความเร็วต่ำลง
- ลดอัตราป้อน
|
|
|
|
การสึกหรออย่างรวดเร็วที่ทำให้เกิดผิวสำเร็จที่ไม่ได้คุณภาพหรือมีพิกัดความเผื่อไม่ตรงกับที่ต้องการ
|
- คมตัดบางส่วนที่ไม่ได้ใช้ตัดเกิดการชำรุดเสียหายจากการตัดของเศษ ส่งผลให้ได้ผิวงานที่มีคุณภาพไม่ดีและเกิดการสึกหรอด้านหน้าอย่างรุนแรง
|
- เพิ่มความเร็วตัด
- ลดอัตราป้อนเมื่อเริ่มการตัด
- ปรับปรุงความมั่นคง
- เพิ่มจำนวนรอบการตัด
- ใช้เม็ดมีดโปรไฟล์เต็ม
|
การสึกหรอมากเกินทำให้อายุการใช้งานของเครื่องมือลดลง การเกิดเศษคราบบนชิ้นงาน ผิวสำเร็จคุณภาพต่ำ การเกิดความร้อนและเสียงรบกวนที่มากเกินไป
|
- การสั่นสะเทือน
- การตัดเศษซ้ำ
- การเกิดเศษค้างบนชิ้นงาน
- ผิวสำเร็จมีคุณภาพต่ำ
- การเกิดความร้อน
- เสียงรบกวนที่มากเกินไป
|
- เพิ่มอัตราป้อน fz
- ลดความเร็ว
- ใช้การกดทับวน
- กำจัดเศษออกอย่างมีประสิทธิภาพด้วยลมอัด
- ตรวจสอบค่าการตัดที่แนะนำ
|
การสึกหรอที่ไม่สม่ำเสมอทำให้เกิดการเสียหายบริเวณมุม อายุการใช้งานของเครื่องมือที่สั้นลง ผิวสำเร็จคุณภาพต่ำ และเกิดเสียงรบกวนที่ดัง
|
- การเบี่ยงเบนศูนย์ของเครื่องมือ
- การสั่นสะเทือน
- อายุการใช้งานของเครื่องมือสั้น
- ผิวสำเร็จมีคุณภาพต่ำ
- ระดับเสียงรบกวนสูง
- แรงในแนวรัศมีสูงเกินไป
|
- ตรวจสอบหัวจับและปลอกจับเครื่องมือ
- ลดระยะยื่นของเครื่องมือ
- ลดฟันตัดในการตัด
- แบ่งระยะกินลึกแนวแกน ap ออกเป็นรอบการตัดมากกว่าสองรอบ
- ลดอัตราป้อน fz
- ลดความเร็วตัด vc
- ใช้รอบการตัดที่ลึกสำหรับการตัดเฉือนด้วยความเร็วสูง
- ปรับปรุงการจับยึดของเครื่องมือและชิ้นงาน
|
|
|
|
|
- การจบยึดชิ้นงานที่ไม่มั่นคง
- ระยะยื่นของเครื่องมือยาวเกินไป
|
- ตรวจสอบการจับยึดของชิ้นงานและเครื่องมือ
- ลดระยะยื่นให้สั้นที่สุด
- ตรวจสอบการเบี่ยงเบนหนีศูนย์ของเครื่องมือ
- เลือกเครื่องมือที่มีฟันตัดน้อยลง
- เพิ่มจำนวนรอบการตัด
- เพิ่มอัตราป้อนต่อฟันตัด
- ลดความเร็วตัดลง
- ใช้การขัดตามในการเก็บผิวละเอียด
|
|
|
|
|
|
- ใช้ลมอัดหรือน้ำหล่อเย็นปริมาณมาก ทางที่ดีควรใช้ภายในเครื่องมือ
- ลดอัตราป้อนตอฟันตัด
- เพิ่มจำนวนรอบการตัด
|
|
|
|
|
- การตัดเฉือนวัสดุที่แข็งตัว
- ชิ้นงานที่ลอกหรือเป็นขุย
|
- ลดความเร็วตัดลง
- เลือกใช้เกรดที่มีความเหนียวมากขึ้น
- เพิ่มความเร็วตัด
|
|
|
|
|
- รอบต่อนาทีของเครื่องจักรต่ำเกินไป
|
- ลดความเร็วตัดก่อนถึงความเร็วของโต๊ะงาน
- ใช้หัวกัดที่เล็กลงและเพิ่มจำนวนรอบการตัด
|
|
|
|
|
|
- ลดความยาวของเครื่องมือ
- ใช้การกัดตาม
- ลดอัตราป้อน
- เพิ่มจำนวนรอบการตัด
- ใช้เม็ดมีดแบบแถวเดียว
|
|
|
|
|
- การคายเศษที่ไม่ดี
- อัตราการกัดงานมากเกินไป
- ไม่มั่นคง
|
- ใช้ลมอัด อมลชน หรือน้ำหล่อเย็นภายในตัว
- แบ่งการตัดออกเป็น 2 หรือ 3 รอบ
- ลดอัตราป้อน
- ตรวจสอบ/เปลี่ยนตัวจับยึดเครื่องมือ
|