|
|
|
|
การหักเศษ
เศษสั้นและแข็งเกินไป
|
- อัตราผลิตงานสูงเกินไป
- ความเร็วต่ำเกินไป
- หน้าลายไม่เหมาะสม
|
- ลดอัตราป้อนงานลง
- เพิ่มความเร็วตัด
- เปลี่ยนเป็นหน้าลายที่มีรองหกเศษแบบเปิดมากขึ้น
|
|
|
|
|
|
การหักเศษ
เศษยาวเกินไป
|
- อัตราป้อนงานต่ำเกินไป
- ความเร็วตัดสูงเกินไป
- หน้าลายไม่เหมาะสม
|
- เพิ่มอัตราป้อนงาน
- ลดความเร็วตัดลง
- เปลี่ยนเป็นหน้าลายที่มีรองหกเศษแบบปิดมากขึ้น
|
|
|
|
|
|
การสั่นสะท้านของเครื่องมือ
|
|
- ใช้ขนาดการจับยึดที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่จะสามารถใช้ได้
- ใช้เม็ดมีดที่มีแรงตัดต่ำ
- ใช้เม็ดมีดที่มีรัศมีปลายคมตัดแคบลง
- ใช้คมตัดแบบคมที่มีชั้นเคลือบผิวบางหรือไม่มีการเคลือบผิว
- ไม่แนะนำให้ใช้เม็ดมีดไว้เปอรกับงานที่ใช้ระยะยาวหรือสภาพการทำงานที่ไม่มั่นคง
- ใช้เม็ดมีดที่มีรัศมีปลายคมตัดแคบลง
- ลดระยะกินลึกลง
|
|
|
|
|
|
- อัตราส่วนระหว่างความยาว/ขนาดการจับยึดสูงเกินไป
|
- ใช้ระบบจับยึดเข้ากับสปินเดิลด้วยหน้าแปลน ซึ่งมีความแข็งแกร่ง
- ใช้ขนาดการจับยึดที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่จะสามารถใช้ได้
- ใช้เครื่องมือที่สั้นลง ถ้าสามารถทำได้
- ใช้เครื่องมือคว้านแบบลดแรงสั่นสะเทือน
|
|
|
|
- ใช้ระบบจับยึดเข้ากับสปินเดลด้วยหน้าแปลน ซึ่งมีความแข็งแกร่ง
- ตรวจสอบว่า มีการประกอบชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องมืออย่างถูกต้องและมีการใช้ค่าแรงขันที่ถูกต้อง
- ตรวจเช็คสปินเดลเครื่องจักร การจับยึดชิ้นงาน การสึกหรอ เป็นต้น
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
- เกิดแรงเสียดทานในการติดตั้งแทนที่จะสามารถติดได้อย่างราบรื่น
|
|
|
|
|
|
|
|
กำลังของเครื่องจักร
|
- กำลังเครื่องจักรไม่เพียงพอ
|
- ตรวจสอบให้แน่ใจว่า เครื่องจักรมีกำลังและแรงบดเพียงพอสำหรับงานคว้านที่ต้องการทำ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับการคว้านหยาบ
|
|
|
- ลดความเร็วลง กรุณาดูวิธีแก้ไขเพิ่มเติมที่ด้านบน
|
|
|
|
- ใช้เม็ดมีดที่มีแรงตัดต่ำ
- ใช้เม็ดมีดที่มีรัศมีปลายคมตัดกว้างขึ้น
- ลดอัตราป้อนงานลง
|
|
|
|
- สลับคมตัด สำหรับวิธีการป้องกันการสึกหรอแต่ละรูปแบบ
|
|
|
|
- ปรับปรุงประสิทธิภาพการหักเศษ
|
|
|